ผ่านไปแล้วไม่ได้แปลว่าโอเค การที่ให้ “ทีมหมูป่า อะคาเดมี” ลองเข้าไปสัมผัสถ้ำหลวงจำลอง
ไม่ใช่แค่การฉายภาพเหตุการณ์สะเทือนใจซ้ำ!! แต่มันคือการตอกย้ำความรู้สึกสะเทือนขวัญ ก่อให้เกิด ” โรค PTSD ”
หากสังคมขาดความรู้ ความเข้าใจ และ มีความเชื่อแบบผิด ๆ มันจะส่งผลลัพธ์ต่อชีวิตตามมาภายหลังอีกมากมาย
วันนี้เราจึงอยากบอกวิธีที่ทุกคนสามารถหยุดการกระทำเหล่านี้ได้
PTSD หรือ Post-Traumatic Stress Disorder คือ ภาวะเครียดที่ส่งผลกระทบต่อ
เช่น รถชน ดินโคลนถล่ม จราจล ถูกข่มขืน หรือ คนใกล้ชิดเสียชีวิต ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงข
การตื่นตระหนกตกใจ หรือกระบวนความคิด
ภาวะเครียด แบ่งเป็น 2 ระยะ
ในระยะแรก ผู้ที่ผ่านเหตุการณ์มาได้แน่นอนว่าจะต้องรู้สึกเสียขวั
โดยมีเหตุการณ์นั้นเป็นเพียงความทรงจำหนึ่ง
แต่บางคนอาจเข้าสู่ระยะที่ 2 นั่นคือ PTSD ซึ่งผลกระทบจะหนักกว่า ทำให้มีบาดแผลทางจิตใจไปตลอ
แม้ว่า PTSD ไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน แต่หากเกิดขึ้นแล้ว นั่นเป็นจุดเปลี่ยนในการใช้
ความผิดปกติทางอารมณ์ไม่สาม
จึงไม่เข้าใจอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้น ถ้าไม่รู้วิธีจัดการที่เหมา
เพื่อที่จะปฏิบัติตัวได้อย่
ผู้ที่ประสบภัยรุนแรงทางชีวิตเช่น แผ่นดินไหว ถูกข่มขืน จะยังรู้สึกว่าเหตุการณ์เหล่านั้นยังตามหลอกหลอนอยู่ตล
เหมือน Flash back เล่นวนอยู่ในหัว ยังรู้สึกสะเทือนใจหรือหวาด
หรืออาจเก็บไปฝันร้ายซ้ำแล้
เมื่อผ่านเหตุการณ์สะเทือนข
ไม่เอาตัวเองเข้าไปอยู่ในสถ
หลีกเลี่ยงที่จะอยู่ในที่แค
แม้ว่าจะผ่านเหตุการณ์อันตร
หวาดระแวงทุกอย่างรอบตัว แค่เจอเรื่องธรรมดาๆ ในชีวิตประจำวันก็ทำให้เครี
คนที่ผ่านเหตุการณ์ระเบิดมา
บางคนถึงกับนอนหลับยาก คลื่นไส้ เป็นต้น
ผู้ที่รอดตายจากเหตุการณ์ต่
มองสถาณการณ์ในด้านลบ อาจโทษตัวเอง สังคม หรือสิ่งรอบตัวที่เกี่ยวพัน
เฉยฉาต่อสิ่งรอบตัว และมีความสุขยากขึ้น เช่น คนที่ถูกทำร้ายตอนเด็กๆ อาจรู้สึกเฉยชาต่อภาพความรุ
มีมุมมองต่อภาพครอบครัวที่เ
ทุกสิ่งและทุกคนรอบตัวล้วนมีส่วนเกี่ยวข้องในการเยียวย
เราจึงควรเข้าใจว่าการ Let Go และการ Focus ส่งผลลัพธ์ที่ต่างกันอย่างไ
เดิมที เมื่อมีเหตุการณ์สะเทือนขวั
จริงๆแล้ว การ debriefing เป็นการกระตุ้นความรู้สึกเดิมๆ ที่อาจก่อให้เกิดอาการของ PTSD ได้
(เช่น Re-experience หรือ Hyper-arousal)
เพราะฉะนั้น Debriefing ไม่ได้ให้ผลลัพธ์ที่ดีอย่าง
เว้นแต่ว่าผู้ประสบภัยอยากจ
ใจความสำคัญของภาวะ PTSD คือการไม่สามารถลบล้างเหตุก
ฉะนั้นสังคมควรสร้างสภาพแวด
เพราะฉะนั้น เมื่อเจอคนที่ผ่านเหตุการณ์
“มันน่ากลัวแค่ไหน” ชวนให้เล่ารายละเอียดซ้ำไปซ้ำมา ถ้าต้องมีการพูดคุย ให้พยายามสอดแทรกความคิดในเ
หรือเรื่องที่ผ่อนคลายขึ้น เพื่อไม่เป็นอุปสรรคต่อการฟื้นฟู
ทางออกที่ดีที่สุดในการเยียวยาจิตใจ คือหยุดตอกย้ำภาพเหตุการณ์สะเทือนใจและไตร่ตรองถึงผลลัพธ์ที่อาจตามมา
————————————
Infographic Thailand รับผลิต Infographic / Motion graphic / Presentation /
อบรม Infographic และ ผลิต Infographic ด้วยเทคนิคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น AR VR 360 กรอกรายละเอียดบอกเราได้ที่
แสดงความคิดเห็น